ถนนสารีบุตร-ทับยาว แผ่นครอบ : บานเกล็ด ติดฉนวนพีอี ย้ำโ […]
Category Archives: ถนนสารีบุตร-ทับยาว
ถนนสารีบุตร-ทับยาว
ถนนสารีบุตร-ทับยาว is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by the focus keyword in category.
ถนนสารีบุตร-ทับยาว เป็นถนนแห่งหนึ่งใน เขตลาดกระบัง
เขตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
เขตลาดกระบังตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตมีนบุรีและเขตหนองจอก มีคลองลำนายโส คลองสองต้นนุ่น ลำรางคอวัง ลำรางศาลเจ้า คลองตาเสือ แนวคันนาผ่านถนนคุ้มเกล้า ลำรางตาทรัพย์ คลองบึงใหญ่ คลองลำกอไผ่ คลองลำมะขาม คลองลำพะอง คลองกระทุ่มล้ม คลองลำตาอิน และคลองลำตาแฝงเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา (จังหวัดฉะเชิงเทรา) มีคลองหลวงแพ่งและคลองประเวศบุรีรมย์เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอบางบ่อ อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางพลี (จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวเส้นตรงจากคลองตาพุกไปบรรจบคลองลาดกระบัง, คลองลาดกระบัง และแนวเส้นตรงจากคลองลาดกระบังไปบรรจบคลองกาหลงเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตประเวศและเขตสะพานสูง มีคลองตาพุก คลองแม่จันทร์ คลองบึงขวาง และคลองลาดบัวขาวเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
เดิมเขตลาดกระบังเป็นพื้นที่การปกครองของเมืองมีนบุรีซึ่งเป็นเมือง (จังหวัด) หนึ่งในมณฑลกรุงเทพ มีชื่อเรียกว่า อำเภอแสนแสบ ต่อมาในปี พ.ศ. 2470 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอลาดกระบัง เพื่อให้ตรงกับชื่อตำบลที่ตั้งที่ว่าการอำเภอ[3] และในปี พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบมารวมกับจังหวัดพระนคร[4] อำเภอลาดกระบังจึงย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนครด้วย
ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2481 กระทรวงมหาดไทยได้ยุบอำเภอลาดกระบังลงเป็น กิ่งอำเภอลาดกระบัง ขึ้นกับอำเภอมีนบุรี เนื่องจากในขณะนั้นมีปริมาณงานไม่มากนักและมีจำนวนประชากรน้อย[5] จนกระทั่งในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2500 จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น อำเภอลาดกระบัง อีกครั้ง[6] โดยได้โอนตำบลแสนแสบไปขึ้นกับอำเภอมีนบุรี และแบ่งพื้นที่บางส่วนของตำบลทับยาว มาจัดตั้งเป็นตำบลขุมทองในปี พ.ศ. 2504[7]
ต่อมามีประกาศคณะปฏิวัติรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนรูปแบบเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 อำเภอลาดกระบังจึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตลาดกระบัง ตั้งแต่นั้น
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตลาดกระบังแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 6 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (กันยายน 2562) |
จำนวนบ้าน (กันยายน 2562) |
ความหนาแน่นประชากร (กันยายน 2562) |
---|---|---|---|---|---|
ลาดกระบัง | Lat Krabang |
10.823
|
30,167
|
18,786
|
2,787.30
|
คลองสองต้นนุ่น | Khlong Song Ton Nun |
14.297
|
67,834
|
32,678
|
4,744.63
|
คลองสามประเวศ | Khlong Sam Prawet |
17.458
|
15,810
|
11,253
|
905.60
|
ลำปลาทิว | Lam Pla Thio |
33.752
|
24,683
|
12,856
|
731.305
|
ทับยาว | Thap Yao |
25.834
|
30,239
|
17,785
|
1,170.51
|
ขุมทอง | Khum Thong |
21.695
|
8,161
|
2,804
|
376.17
|
ทั้งหมด |
123.859
|
176,894
|
96,162
|
1,428.19
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตลาดกระบัง[8] |
---|
การคมนาคม[แก้]
ทางสายหลักในพื้นที่เขตลาดกระบัง ได้แก่
|
ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่
|
|
ขนส่งมวลชนทางราง
สถานที่สำคัญ[แก้]
- สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- วัดลาดกระบัง
- วัดลานบุญ
- วัดสังฆราชา
- วัดทิพพาวาส
- สวนพระนคร
- ตลาดหัวตะเข้
- โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า
- โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง
- โรงเรียนพรตพิทยพยัต
- มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ
- โรงเรียนพร้อม
- โรงเรียนวัดลาดกระบัง
- โรงเรียนวัดปากบึง
- โรงเรียนวัดลานบุญ
- นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
- สวนนกธรรมชาติหลังนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
- โรงเรียนแดงเป้า (สิงสุขบูรณะ)
- วัดปลูกศรัทธา
- สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบังอออ