Category Archives: ถนนจตุรโชคชัย

ถนนจตุรโชคชัย is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search  by the focus keyword in category.

ถนนจตุรโชคชัย เป็นถนนแห่งหนึ่งในเขต อำเภอบางพลี

ถนนจตุรโชคชัย

จังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489

ประวัติ[แก้]

ในสมัยอยุธยามีชื่อเมืองสมุทรปราการในกฎหมายซึ่งตราขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2178 แต่ตัวเมืองจะตั้งอยู่ที่ใดในเวลานั้นไม่ปรากฏชัด มีหลักฐานแต่เพียงว่า ที่ปากคลองบางปลากด ฝั่งขวาของ แม่น้ำเจ้าพระยา มีพ่อค้าชาวฮอลันดามาตั้งห้างพักสินค้าอยู่ ณ ที่นั้นและเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงแต่งสมณทูตไปลังกากล่าวว่าออกเรือจากเมืองธนบุรีไปถึงตึกฮอลันดาที่ตำบลบางปลากดแสดงว่าที่นั่นคงมีผู้คนอาศัยอยู่มากอาจเป็นตัวเมืองสมุทรปราการในครั้งนั้นก็ได้ ต่อมาเมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ. 2310 ปรากฏหลักฐานว่า พม่าได้มาปล้นบ้านเรือนราษฎรที่ตำบลบางเมืองในเขตเมืองสมุทรปราการในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองสมุทรปราการบัดนี้ที่ตำบลบางเมืองเมื่อ พ.ศ. 2362 พร้อมกับสร้างป้อมป้องกันเรือของข้าศึกรวม 6 ป้อมและใน พ.ศ. 2366 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระสมุทรเจดีย์บนเกาะกลางน้ำด้วย อนึ่ง สมุทรปราการ เรียกกันเป็นสามัญว่า “ปากน้ำ” เพราะตัวเมืองตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งซ้าย ห่างจากปากแม่น้ำเข้ามาราว 6 กิโลเมตร [3]

ภูมิศาสตร์[แก้]

จังหวัดสมุทรปราการเป็นเขตปริมณฑล จังหวัดสมุทรปราการมีเนื้อที่ 1,004 ตารางกิโลเมตร อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับกรุงเทพมหานคร และจังหวัดฉะเชิงเทรา, ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา, ทิศใต้จรดอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดต่อกับกรุงเทพมหานคร ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มทั้งหมด มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านทางซีกตะวันตกของจังหวัด จากทิศเหนือไปทิศใต้ลงสู่อ่าวไทย มีชายฝั่งทะเลยาว 47.5 กิโลเมตร เดิมชายฝั่งทะเลมีป่าชายเลนกว้างขวาง เนื่องจากมีตะกอนที่แม่น้ำเจ้าพระยา นำพามาทับถมกันที่บริเวณปากน้ำแต่ปัจจุบันมีการบุกรุกป่าชายเลน ทำให้เกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นบริเวณกว้าง[3]

ในด้านเศรษฐกิจ จังหวัดสมุทรปราการมีการทำนา, ประมง และอุตสาหกรรม แหล่งท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญ เช่น ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ, พระสมุทรเจดีย์กลางน้ำ, วัดอโศการาม, วัดบางพลีใหญ่, วัดไพชยนต์พลเสพราชวรวิหาร, วัดโปรดเกศเชษฐาราม, ศาลพระเสื้อเมือง, พิพิธภัณฑ์ทหารเรือ, เมืองโบราณ, สถานตากอากาศบางปู, ป้อมพระจุลจอมเกล้า, สวางคนิวาส, ป้อมแผลงไฟฟ้า, ฟาร์มจระเข้ ฯลฯ [3]

การคมนาคมจากกรุงเทพมหานคร โดยทางหลวงหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท ตอนกรุงเทพมหานคร-สมุทรปราการ) ระยะทาง 25 กิโลเมตร [3]

สัญลักษณ์ประจำจังหวัด[แก้]

การเมืองการปกครอง[แก้]

การบริหารราชการส่วนภูมิภาค[แก้]

แผนที่อำเภอในจังหวัดสมุทรปราการ

จังหวัดสมุทรปราการแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 6 อำเภอ 50 ตำบล 405 หมู่บ้าน อำเภอในจังหวัดสมุทรปราการประกอบไปด้วย

  1. อำเภอเมืองสมุทรปราการ
  2. อำเภอบางบ่อ
  3. อำเภอบางพลี
  4. อำเภอพระประแดง
  5. อำเภอพระสมุทรเจดีย์
  6. อำเภอบางเสาธง

การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น[แก้]

พื้นที่จังหวัดสมุทรปราการประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 49 แห่ง ประกอบด้วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น โดยมี 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดเทศบาลนคร 1 แห่ง, เทศบาลเมือง 6 แห่ง, เทศบาลตำบล 14 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 27 แห่ง จำแนกได้ดังนี้[4]

เขตเทศบาลในจังหวัดสมุทรปราการ

ข้อมูลเทศบาลในจังหวัดสมุทรปราการ
ลำดับ ชื่อเทศบาล พื้นที่
(ตร.กม.)
ตั้งเมื่อ
(พ.ศ.)[# 1]
อำเภอ ครอบคลุมตำบล ประชากร (คน)
(ณ สิ้นปี 2561) [5]
ทั้งตำบล บางส่วน รวม
เทศบาลนคร
1
7.33
2542 [6] เมืองสมุทรปราการ 1 1
51,495
เทศบาลเมือง
2 (1)
0.61
2480 [7] พระประแดง 1 1
9,462
3 (2)
15.50
2545 [8] พระประแดง 3 3
72,263
4 (3)
9.30
2550 [9] เมืองสมุทรปราการ 1 1
33,101
5 (4)
25.50
2552 [10] พระประแดง 5 5
73,805
6 (5)
24.69
2562 [11] บางพลี 1 1
56,949
7 (6)
20.32
2562 [12] เมืองสมุทรปราการ 1 1
46,759
เทศบาลตำบล
8 (1)
2538 เมืองสมุทรปราการ 3 3
29,977
9 (2)
2542 เมืองสมุทรปราการ 4 4
119,760
10 (3)
2542 เมืองสมุทรปราการ 2 2
27,305
11 (4)
2542 เมืองสมุทรปราการ 1 1
55,826
12 (5)
2542 เมืองสมุทรปราการ 3 3
101,232
13 (6)
2542 บางบ่อ 1 1
6,496
14 (7)
2542 บางบ่อ 1 1
3,201
15 (8)
2542 บางบ่อ 1 1
11,530
16 (9)
2542 บางพลี 3 3
11,965
17 (10)
2542 พระสมุทรเจดีย์ 1 1
12,612
18 (11)
2542 พระสมุทรเจดีย์ 2 2
20,968
19 (12)
2542 บางเสาธง 2 2
22,660
20 (13)
2554 บางบ่อ 1 1
9,086
21 (14)
2562 เมืองสมุทรปราการ 1 1
22,300

  1.  หมายถึงปีที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลในระดับปัจจุบัน

รายชื่อเจ้าเมืองและผู้ว่าราชการจังหวัด[แก้]

จังหวัดพระประแดง[13]
ลำดับ ชื่อ เริ่มดำรงตำแหน่ง ออกจากตำแหน่ง
พระยานครเขื่อนขันธ์ รามัญราชชาติเสนาบดี ศรีสิทธิสงคราม (ทอมา คชเสนี)
พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี)
พระยาดำรงราชพลขันธ์ (นกแก้ว คชเสนี)
พระยาขยันสงคราม (เจ๊ก คชเสนี)
พระยาเกียรติ (นกขุนทอง คชเสนี)
พระยาดำรงราชพลขันธ์ (หยอด คชเสนี)
พระยาเทพผลู (ทองคำ)
พระยาพินิจมนตร%E

Call Now Button