คลองด่าน หลังคา เมทัลชีท : แผ่นเดียว ก็ขาย คลองด่าน หลั […]
Category Archives: ตำบลคลองด่าน
ตำบลคลองด่าน
ตำบลคลองด่าน is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by the focus keyword in category.
ตำบลคลองด่าน เป็นตำบลหนึ่งใน 8 ตำบลของอำเภอบางบ่อ
จังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489
เนื้อหา
ประวัติ[แก้]
ในสมัยอยุธยามีชื่อเมืองสมุทรปราการในกฎหมายซึ่งตราขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2178 แต่ตัวเมืองจะตั้งอยู่ที่ใดในเวลานั้นไม่ปรากฏชัด มีหลักฐานแต่เพียงว่า ที่ปากคลองบางปลากด ฝั่งขวาของ แม่น้ำเจ้าพระยา มีพ่อค้าชาวฮอลันดามาตั้งห้างพักสินค้าอยู่ ณ ที่นั้นและเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงแต่งสมณทูตไปลังกากล่าวว่าออกเรือจากเมืองธนบุรีไปถึงตึกฮอลันดาที่ตำบลบางปลากดแสดงว่าที่นั่นคงมีผู้คนอาศัยอยู่มากอาจเป็นตัวเมืองสมุทรปราการในครั้งนั้นก็ได้ ต่อมาเมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ. 2310 ปรากฏหลักฐานว่า พม่าได้มาปล้นบ้านเรือนราษฎรที่ตำบลบางเมืองในเขตเมืองสมุทรปราการในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองสมุทรปราการบัดนี้ที่ตำบลบางเมืองเมื่อ พ.ศ. 2362 พร้อมกับสร้างป้อมป้องกันเรือของข้าศึกรวม 6 ป้อมและใน พ.ศ. 2366 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระสมุทรเจดีย์บนเกาะกลางน้ำด้วย อนึ่ง สมุทรปราการ เรียกกันเป็นสามัญว่า “ปากน้ำ” เพราะตัวเมืองตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งซ้าย ห่างจากปากแม่น้ำเข้ามาราว 6 กิโลเมตร [3]
ภูมิศาสตร์[แก้]
จังหวัดสมุทรปราการเป็นเขตปริมณฑล จังหวัดสมุทรปราการมีเนื้อที่ 1,004 ตารางกิโลเมตร อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับกรุงเทพมหานคร และจังหวัดฉะเชิงเทรา, ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา, ทิศใต้จรดอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดต่อกับกรุงเทพมหานคร ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มทั้งหมด มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านทางซีกตะวันตกของจังหวัด จากทิศเหนือไปทิศใต้ลงสู่อ่าวไทย มีชายฝั่งทะเลยาว 47.5 กิโลเมตร เดิมชายฝั่งทะเลมีป่าชายเลนกว้างขวาง เนื่องจากมีตะกอนที่แม่น้ำเจ้าพระยา นำพามาทับถมกันที่บริเวณปากน้ำแต่ปัจจุบันมีการบุกรุกป่าชายเลน ทำให้เกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นบริเวณกว้าง[3]
ในด้านเศรษฐกิจ จังหวัดสมุทรปราการมีการทำนา, ประมง และอุตสาหกรรม แหล่งท่องเที่ยวและสถานที่สำคัญ เช่น ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ, พระสมุทรเจดีย์กลางน้ำ, วัดอโศการาม, วัดบางพลีใหญ่, วัดไพชยนต์พลเสพราชวรวิหาร, วัดโปรดเกศเชษฐาราม, ศาลพระเสื้อเมือง, พิพิธภัณฑ์ทหารเรือ, เมืองโบราณ, สถานตากอากาศบางปู, ป้อมพระจุลจอมเกล้า, สวางคนิวาส, ป้อมแผลงไฟฟ้า, ฟาร์มจระเข้ ฯลฯ [3]
การคมนาคมจากกรุงเทพมหานคร โดยทางหลวงหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท ตอนกรุงเทพมหานคร-สมุทรปราการ) ระยะทาง 25 กิโลเมตร [3]
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด[แก้]
- อักษรย่อ: จังหวัดสมุทรปราการใช้อักษรย่อ สป
- ตราประจำจังหวัด: พระสมุทรเจดีย์
- ต้นไม้ประจำจังหวัด: ต้นโพทะเล (Thespesia populnea)
- ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกดาวเรือง (Tagetes erecta)
- สัตว์น้ำประจำจังหวัด: ปลาสลิด (Trichopodus pectoralis)
- คำขวัญประจำจังหวัด: ป้อมยุทธนาวี พระเจดีย์กลางน้ำ ฟาร์มจระเข้ใหญ่ งามวิไลเมืองโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลิดแห้งรสดี ประเพณีรับบัว ครบถ้วนทั่วอุตสาหกรรม
การเมืองการปกครอง[แก้]
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค[แก้]
จังหวัดสมุทรปราการแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 6 อำเภอ 50 ตำบล 405 หมู่บ้าน อำเภอในจังหวัดสมุทรปราการประกอบไปด้วย
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น[แก้]
พื้นที่จังหวัดสมุทรปราการประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 49 แห่ง ประกอบด้วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น โดยมี 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด, เทศบาลนคร 1 แห่ง, เทศบาลเมือง 6 แห่ง, เทศบาลตำบล 14 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 27 แห่ง จำแนกได้ดังนี้[4]
ลำดับ | ชื่อเทศบาล | พื้นที่ (ตร.กม.) |
ตั้งเมื่อ (พ.ศ.)[# 1] |
อำเภอ | ครอบคลุมตำบล | ประชากร (คน) (ณ สิ้นปี 2561) [5] |
||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ทั้งตำบล | บางส่วน | รวม | ||||||||||
เทศบาลนคร | ||||||||||||
1 |
7.33
|
2542 [6] | เมืองสมุทรปราการ | 1 | – | 1 |
51,495
|
|||||
เทศบาลเมือง | ||||||||||||
2 (1) |
0.61
|
2480 [7] | พระประแดง | 1 | – | 1 |
9,462
|
|||||
3 (2) |
15.50
|
2545 [8] | พระประแดง | 3 | – | 3 |
72,263
|
|||||
4 (3) |
9.30
|
2550 [9] | เมืองสมุทรปราการ | – | 1 | 1 |
33,101
|
|||||
5 (4) |
25.50
|
2552 [10] | พระประแดง | 5 | – | 5 |
73,805
|
|||||
6 (5) |
24.69
|
2562 [11] | บางพลี | 1 | – | 1 |
56,949
|
|||||
7 (6) |
20.32
|
2562 [12] | เมืองสมุทรปราการ | – | 1 | 1 |
46,759
|
|||||
เทศบาลตำบล | ||||||||||||
8 (1) | 2538 | เมืองสมุทรปราการ | – | 3 | 3 |
29,977
|
||||||
9 (2) | 2542 | เมืองสมุทรปราการ | 4 | – | 4 |
119,760
|
||||||
10 (3) | 2542 | เมืองสมุทรปราการ | – | 2 | 2 |
27,305
|
||||||
11 (4) | 2542 | เมืองสมุทรปราการ | – | 1 | 1 |
55,826
|
||||||
12 (5) | 2542 | เมืองสมุทรปราการ | – | 3 | 3 |
101,232
|
||||||
13 (6) | 2542 | บางบ่อ | – | 1 | 1 |
6,496
|
||||||
14 (7) | 2542 | บางบ่อ | 1 | – | 1 |
3,201
|
||||||
15 (8) | 2542 | บางบ่อ | – | 1 | 1 |
11,530
|
||||||
16 (9) | 2542 | บางพลี | – | 3 | 3 |
11,965
|
||||||
17 (10) | 2542 | พระสมุทรเจดีย์ | 1 | – | 1 |
12,612
|
||||||
18 (11) | 2542 | พระสมุทรเจดีย์ | – | 2 | 2 |
20,968
|
||||||
19 (12) | 2542 | บางเสาธง | – | 2 | 2 |
22,660
|
||||||
20 (13) | 2554 | บางบ่อ | 1 | – | 1 |
9,086
|
||||||
21 (14) | 2562 | เมืองสมุทรปราการ | – | 1 | 1 |
22,300
|