กำแพงเพชร 4 ลอนฝ้า เมทัลชีท ลอนผนัง กำแพงเพชร 4 ลอนฝ้า […]
Category Archives: ถนนกำแพงเพชร 4
ถนนกำแพงเพชร 4
ถนนกำแพงเพชร 4 is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google pagesearch by address the focus keyword name in category.
ถนนกำแพงเพชร 4 เป็นถนนสายหลักของ เขตจตุจักร
เขตจตุจักร เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่บริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตหลักสี่ มีคลองบางเขนเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางเขนและเขตลาดพร้าว มีคลองบางบัวและคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตห้วยขวาง เขตดินแดง และเขตพญาไท มีคลองน้ำแก้ว คลองพระยาเวิก และคลองบางซื่อเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางซื่อและอำเภอเมืองนนทบุรี (จังหวัดนนทบุรี) มีทางรถไฟสายเหนือและคลองประปาเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
แต่เดิม ตำบลลาดยาว เป็นท้องที่ปกครองของอำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร สภาพทั่วไปเป็นทุ่งนา มีประชากรตั้งถิ่นฐานกระจายอยู่เป็นกลุ่ม ๆ ตามริมคลองสายหลัก เช่น คลองเปรมประชากร คลองบางซื่อ คลองบางเขน คลองลาดยาว เป็นต้น ต่อมาจึงได้มีชุมชนและบ้านจัดสรรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นจากการขยายตัวของตัวเมืองในช่วงหลังจากปี พ.ศ. 2507 อันเป็นปีที่ขยายเขตเทศบาลนครกรุงเทพซึ่งครอบคลุมตำบลลาดยาวด้วย
ในปี พ.ศ. 2514 มีประกาศรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานครในเวลาต่อมา ซึ่งเปลี่ยนการเรียกคำว่าตำบลและอำเภอใหม่ ตำบลลาดยาวจึงมีฐานะเป็น แขวงลาดยาว ขึ้นกับเขตบางเขน
ภายหลังพื้นที่เขตบางเขนมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้นมาก พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต กระทรวงมหาดไทยจึงได้แยกแขวงลาดยาวและประกาศจัดตั้งเป็น เขตจตุจักร พร้อมกับจัดตั้งเขตดอนเมือง ในวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
ในวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 สมัคร สุนทรเวช ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครขณะนั้น ได้ลงนามในประกาศกรุงเทพมหานคร เปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงในเขตจตุจักรใหม่ โดยจัดตั้งแขวงเสนานิคม แขวงจันทรเกษม แขวงจอมพล และแขวงจตุจักร แยกออกจากแขวงลาดยาว เพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสารและการให้บริการของเขต เพราะเดิมเขตจตุจักรมีเพียงแขวงลาดยาวเพียงแขวงเดียว แต่มีพื้นที่กว้างขวางและมีประชากรอาศัยหนาแน่น จึงทำให้มีเลขที่บ้านซ้ำกันเป็นจำนวนมาก โดยให้มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 ธันวาคม ปีเดียวกัน[2][3] ทำให้ปัจจุบัน เขตจตุจักรแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 5 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2562) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2562) |
ความหนาแน่น (ธันวาคม 2562) |
---|---|---|---|---|---|
ลาดยาว | Lat Yao |
10.69
|
41,814
|
28,431
|
3,911.50
|
เสนานิคม | Sena Nikhom |
2.826
|
20,417
|
18,283
|
7,224.69
|
จันทรเกษม | Chan Kasem |
6.026
|
38,701
|
26,790
|
6,422.33
|
จอมพล | Chom Phon |
5.488
|
32,288
|
34,166
|
5,883.38
|
จตุจักร | Chatuchak |
7.878
|
23,385
|
13,682
|
2,968.39
|
ทั้งหมด |
32.908
|
156,605
|
121,352
|
4,758.87
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตจตุจักร[4] |
---|
เหตุการณ์สำคัญ[แก้]
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ได้เกิดเหตุทะเลาะวิวาทโดยเกิดการใช้อาวุธปืนยิงต่อสู้กันขึ้นมีผู้เสียชีวิต 6 รายที่ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 เวลา 22.00 น. ได้เกิดเหตุไฟไหม้ ธนาคารไทยพาณิชย์ สำนักงานใหญ่ มีผู้เสียชีวต 1 ราย ได้แก่ นาย เดชา ด้วง ชนะ[5]
วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เปิดใช้อุโมงค์ทางลอดแยกรัชโยธิน ตามแนวถนนรัชดาภิเษก อุโมงค์ทางลอดมีขนาด 4 ช่องจราจร กว้าง 16.80 เมตร ยาว 1,085 เมตร ความสูงช่องทางลอด 5.25 เมตร และต่ำกว่าถนน 7.50 เมตร
การคมนาคม[แก้]
ในพื้นที่เขตจตุจักรมีทางสายหลัก ได้แก่
|
ส่วนทางสายรอง ได้แก่
ทางด่วน
- ทางยกระดับอุตราภิมุข หรือ ดอนเมืองโทลล์เวย์
- ทางพิเศษศรีรัช
ทางน้ำ
รถไฟฟ้า
- รถไฟฟ้ามหานคร มี 4 สถานีในสายเฉลิมรัชมงคล คือ สถานีกำแพงเพชร, สถานีสวนจตุจักร, สถานีพหลโยธิน และสถานีลาดพร้าว
- รถไฟฟ้าบีทีเอส มี 6 สถานีในสายสุขุมวิท คือ สถานีหมอชิต, สถานีห้าแยกลาดพร้าว, สถานีพหลโยธิน 24, สถานีรัชโยธิน, สถานีเสนานิคม และสถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของสายสุขุมวิทในปัจจุบัน
รถโดยสาร
- เป็นที่ตั้งของสถานีขนส่งสายเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ (ที่นิยมเรียกกันว่าสถานีขนส่งหมอชิตใหม่หรือจตุจักร)
สถานที่สำคัญ[แก้]
- ตลาดนัดจตุจักร
- สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
- สวนจตุจักร
- สวนวชิรเบญจทัศ
- อุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ
- สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ
- ตลาด อ.ต.ก.
- พิพิธภัณฑ์เด็ก กรุงเทพมหานคร
- หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
- หอเกียรติภูมิรถไฟ
- สำนักงานองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
- บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)
- บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
- วัดเสมียนนารี