ถนนสังฆสันติสุข ลูกหมุน : ระบายอากาศ พร้อมแผ่นฐาน ถนน […]
Category Archives: ถนนสังฆสันติสุข
ถนนสังฆสันติสุข
ถนนสังฆสันติสุข is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by the focus keyword in category.
ถนนสังฆสันติสุข เป็นถนนแห่งหนึ่งในเขตหนองจอก
เขตหนองจอก เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท้องทุ่งและเกษตรกรรม มีลำคลองไหลผ่านหลายสาย
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
เขตหนองจอกตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของกรุงเทพมหานคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอลำลูกกา (จังหวัดปทุมธานี) มีแนวเส้นตรงจากคลองเก้าไปบรรจบคลองสิบสี่เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอบางน้ำเปรี้ยวและอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา (จังหวัดฉะเชิงเทรา) มีคลองสิบสี่ แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดฉะเชิงเทรา คลองแสนแสบ คลองบึงทองหลาง (บุน้ำรักษ์) คลองนครเนื่องเขต และคลองหลวงแพ่งเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตลาดกระบัง มีคลองลำตาแฝง คลองลำตาอิน คลองกระทุ่มล้ม คลองลำพะอง คลองลำมะขาม และคลองลำกอไผ่เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตมีนบุรีและเขตคลองสามวา มีคลองลำนกแขวก คลองลำต้นไทร คลองลำหินฝั่งใต้ คลองแยกคลองลำหินฝั่งใต้ ลำรางข้างซอยราษฎร์อุทิศ 70 คลองแสนแสบ คลองลัดตาเตี้ย คลองแบนชะโด และคลองเก้าเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
เดิมเขตหนองจอกมีฐานะเป็น อำเภอหนองจอก ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2440[3] ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กลุ่มผู้ที่มาตั้งถิ่นฐานพวกแรก ๆ เป็นชาวไทยมุสลิมที่อพยพมาจากหัวเมืองภาคใต้ โดยตั้งชุมชนตามแนวคลองแสนแสบซึ่งได้มีการขุดลอกขยายคลองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว[3] รวมทั้งชาวมอญ จีน ลาว เขมร และอีก 5 ปีต่อมา (พ.ศ. 2445) อำเภอหนองจอกก็ได้มาขึ้นอยู่กับเมืองมีนบุรีซึ่งเป็นหัวเมืองที่ตั้งขึ้นใหม่ในมณฑลกรุงเทพ[4]
ต่อมา เกิดสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณของทางราชการ ใน พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีจึงถูกยุบรวมเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดพระนคร ส่วนอำเภอหนองจอกถูกโอนไปขึ้นกับจังหวัดฉะเชิงเทรา[5] แต่เนื่องจากความไม่สะดวกในการเดินทางและการติดต่อระหว่างกัน ในปีถัดมา (พ.ศ. 2475) ทางราชการจึงได้ย้ายอำเภอหนองจอกมาเป็นเขตการปกครองในจังหวัดพระนคร[6]
จนกระทั่งใน พ.ศ. 2514 มีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี[7] และในปีถัดมา (พ.ศ. 2515) ก็มีประกาศคณะปฏิวัติเปลี่ยนรูปแบบการบริหารเมืองหลวงใหม่อีกครั้งจากนครหลวงกรุงเทพธนบุรีเป็นกรุงเทพมหานคร แบ่งพื้นที่ออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล[7] อำเภอหนองจอกจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตหนองจอก นับแต่นั้น
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตหนองจอกแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 8 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2561) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2561) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2561) |
---|---|---|---|---|---|
กระทุ่มราย | Krathum Rai |
38.132
|
38,983
|
15,799
|
1,022.31
|
หนองจอก | Nong Chok |
29.992
|
21,773
|
7,653
|
725.96
|
คลองสิบ | Khlong Sip |
30.849
|
9,022
|
2,280
|
292.45
|
คลองสิบสอง | Khlong Sip Song |
38.867
|
11,365
|
4,158
|
292.40
|
โคกแฝด | Khok Faet |
22.524
|
33,790
|
11,635
|
1,500.17
|
คู้ฝั่งเหนือ | Khu Fang Nuea |
17.750
|
17,763
|
6,056
|
1,000.73
|
ลำผักชี | Lam Phak Chi |
33.358
|
30,740
|
12,767
|
921.51
|
ลำต้อยติ่ง | Lam Toiting |
24.789
|
9,554
|
2,862
|
385.41
|
ทั้งหมด |
236.261
|
172,990
|
63,210
|
732.19
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตหนองจอก[8] |
---|
การคมนาคม[แก้]
เส้นทางถนนสายหลักในพื้นที่เขตหนองจอก ได้แก่
ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่
นอกจากนั้นยังมีลำคลองสายต่างๆ เป็นเส้นทางคมนาคมทางน้ำที่สำคัญมาแต่โบราณอีกด้วย เนื่องจากลักษณะทางภูมิศาสตร์แต่เดิมมาของพื้นที่ ตั้งแต่ก่อนที่จะมีการจัดรูปการบริหารเป็นเขตหนองจอก มีลำคลองขุดเช่น คลองเก้า คลองสิบ จนถึงคลองสิบสี่ขุดผ่าน และมีคลองลัดตัดเชื่อมระหว่างลำคลองสายหลักในลักษณะก้างปลาอย่างทั่วถึง
สถานที่สำคัญในเขตหนองจอก มีอาทิ ศูนย์บริหารกิจการศาสนาอิสลามแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ คลองเก้า ซึ่งเป็นที่ตั้งที่ทำการของทั้งสำนักจุฬาราชมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการอิสลามกรุงเทพมหานคร เขตหนองจอกเป็นที่ตั้งชุมชนชาวไทยมุสลิมจำนวนประมาณกว่าร้อยละ 75 ของประชากรทั้งหมดในเขต แต่ก็มีชุมชนชาวไทยเชื้อสายอื่นๆ อาทิ ชุมชนชาวไทยรามัญ ชาวไทยเชื้อสายจีน ชาวไทยคริสต์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ด้วย โดยมีศาสนสถานทั้งมัสยิด วัด ศาลเจ้าจีน และโบสถ์คริสต์ มีสถานที่ท่องเที่ยว อาทิ ตลาดเก่าร้อยปี วัดสีชมพู แหล่งเที่ยวชมค้างคาวแม่ไก่ ฯลฯ