จรเข้บัว เมทัลชีท : แผ่นเดียว ก็ขาย จรเข้บัว เมทัลชีท : […]
Category Archives: แขวงจรเข้บัว
แขวงจรเข้บัว
แขวงจรเข้บัว is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by the focus keyword in category.
แขวงจรเข้บัว เป็นแขวงหนึ่งใน 2 แขวงของเขตลาดพร้าว
เขตลาดพร้าว เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมืองทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ)
เขตลาดพร้าว
|
|
---|---|
คำขวัญ: แหล่งนิวาสสถาน ร้านอาหารเลื่องชื่อ งามระบือเจดีย์ใหญ่ วัดวาอารามงามวิไล ปวงประชาร่วมใจพัฒนา |
|
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°48′13″N 100°36′27″E | |
อักษรไทย | เขตลาดพร้าว |
อักษรโรมัน | Khet Lat Phrao |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 21.500 ตร.กม. (8.301 ตร.ไมล์) |
ประชากร (2561)[1] | |
• ทั้งหมด | 119,709 |
• ความหนาแน่น | 5,567.86 คน/ตร.กม. (14,420.7 คน/ตร.ไมล์) |
รหัสไปรษณีย์ | 10230 |
รหัสภูมิศาสตร์ | 1038 |
ต้นไม้ ประจำเขต |
มะพร้าว |
ที่อยู่ สำนักงาน |
เลขที่ 208 ถนนนาคนิวาส แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร 10230 |
เว็บไซต์ | www.bangkok.go.th/latphrao |
เขตลาดพร้าว เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมืองทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ)
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางเขน มีคลองหลุมไผ่ คลองสามขา คลองโคกคราม และคลองตาเร่งเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบึงกุ่ม เขตบางกะปิ และเขตวังทองหลาง มีถนนประดิษฐ์มนูธรรมฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับเขตวังทองหลางและเขตห้วยขวาง มีถนนสังคมสงเคราะห์ ถนนโชคชัย 4 คลองทรงกระเทียม และคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตจตุจักร มีคลองลาดพร้าวและคลองบางบัวเป็นเส้นแบ่งเขต
ประวัติศาสตร์[แก้]
เดิมเขตลาดพร้าวมีฐานะเป็น ตำบลลาดพร้าว ขึ้นอยู่กับอำเภอบางกะปิ จังหวัดพระนคร ต่อมาได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร เปลี่ยนเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนการเรียกเขตการปกครองใหม่ด้วย ตำบลลาดพร้าวจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงลาดพร้าว และอยู่ในเขตการปกครองของสำนักงานเขตบางกะปิ
ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532 จึงได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกะปิ และตั้ง เขตลาดพร้าว และเขตบึงกุ่ม จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยได้เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตลาดพร้าวใหม่ โดยแบ่งพื้นที่แขวงจรเข้บัวเฉพาะส่วนที่อยู่ฟากเหนือคลองโคกครามและคลองตาเร่งไปเป็นพื้นที่ของเขตบางเขน และแบ่งพื้นที่บางส่วนของแขวงลาดพร้าวไปจัดตั้งเป็นเขตวังทองหลาง ตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร ที่ต้องการจัดขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรของแต่ละเขตให้มีความเหมาะสมใกล้เคียงกัน เพื่อประโยชน์แก่การปกครอง
และในวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2545 กระทรวงมหาดไทยได้โอนพื้นที่บางส่วนของเขตวังทองหลางมาเป็นส่วนหนึ่งของแขวงลาดพร้าว
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
เขตลาดพร้าวแบ่งพื้นที่การปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง ได้แก่
อักษรไทย | อักษรโรมัน | พื้นที่ (ตร.กม.) |
จำนวนประชากร (ธันวาคม 2561) |
จำนวนบ้าน (ธันวาคม 2561) |
ความหนาแน่นประชากร (ธันวาคม 2561) |
---|---|---|---|---|---|
ลาดพร้าว | Lat Phrao |
14.445
|
92,244
|
44,648
|
6,422.08
|
จรเข้บัว | Chorakhe Bua |
7.055
|
27,465
|
11,822
|
3,892.98
|
ทั้งหมด |
21.500
|
119,709
|
56,470
|
5,567.86
|
ประชากร[แก้]
[แสดง]สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตลาดพร้าว[2] |
---|
การคมนาคม[แก้]
- ถนนประดิษฐ์มนูธรรม
- ถนนประเสริฐมนูกิจ
- ถนนลาดปลาเค้า
- ทางพิเศษฉลองรัช
- ถนนสังคมสงเคราะห์
- ถนนนาคนิวาส
- ถนนโชคชัย 4
- ถนนลาดพร้าววังหิน
- ถนนสุคนธสวัสดิ์
- ถนนสตรีวิทยา 2
สถานที่สำคัญ[แก้]
- วัดลาดพร้าว
- วัดสาครสุ่นประชาสรรค์
- วัดสิริกมลาวาส
- วัดลาดปลาเค้า
- พระตำหนักพระแม่กวนอิมโชคชัย 4
- เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์
การสาธารณสุข[แก้]
- โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล โชคชัย 4
- ศูนย์แพทย์เสนาเวชการคลินิก
- ศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ตำหนักพระแม่กวนอิม โชคชัย 4
- ศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ตำหนักพระแม่กวนอิม จรเข้บัว
- ศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ตำหนักพระแม่กวนอิม จันทร์-ทองอินทร์ ดวงเด่น